1.ศึกษาข้อกำหนดด้านกฎหมายที่เกี่ยวข้องทั้งหมด เช่น ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และด้านสิ่งแวดล้อม
2.จัดทำคู่มือด้านความปลอดภัย ควบคุม จัดแผนการฝึกอบรมให้ความรู้แก่พนักงาน
3.ให้ข้อแนะนำ และดำเนินการตามกฎหมายความปลอดภัย และอาชีวอนามัยในการทำงาน และขยายผลสู่ทุกสาขา ทั่วประเทศ
4.จัดตั้งคณะกรรมการความปลอดภัยในประกอบการ (คปอ.) ดำเนินการประชุมติดตาม และนำเสนอต่อผู้บริหารรายเดือน
5. จัดแผนการฝึกอบรม จป. ระดับหัวหน้างาน จป. ระดับบริหาร และคณะกรรมการความปลอดภัยในการทำงาน (คปอ.)
6.ตรวจประเมินความเสี่ยง รายงานผล เป็นรายสัปดาห์ รายเดือน และรายปี ตลอดจนติดตามผล การปรับปรุงการทำงานด้านความปลอดภัยของแต่ละฝ่าย
7.จัดประชุม ผลกระทบ งานที่มีความเสี่ยง ด้านความปลอดภัย เสนอแนะปรับปรุง ติดตาม ทั้งแผนระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว เพื่อให้ได้ผลสัมฤทธิ์อย่างยั่งยืน และเกิดประโยชน์สูงสุดกับองค์กร
8.รายงานผลการดำเนินงานด้านความปลอดภัยตามรอบต่อผู้บริหาร และหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง
9.ยื่นเอกสารต่างๆกับหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อกับความปลอดภัย ความสะอาด อาชีวะอนามัยเช่น ใบอนุญาตจำน่ายอาหาร สุรา และแบบอนุญาตก่อสร้าง